Speaking Skill
Teaching Speaking
Many
language learners regard speaking ability as the measure of knowing a language.
These learners define fluency as the ability to converse with others, much more
than the ability to read, write, or comprehend oral language. They regard
speaking as the most important skill they can acquire, and they assess their
progress in terms of their accomplishments in spoken communication.
Language learners need to recognize that speaking
involves three areas of knowledge:
- Mechanics
(pronunciation, grammar, and vocabulary): Using the right words in the
right order with the correct pronunciation
- Functions
(transaction and interaction): Knowing when clarity of message is
essential (transaction/information exchange) and when precise
understanding is not required (interaction/relationship building)
- Social
and cultural rules and norms (turn-taking, rate of speech, length of
pauses between speakers, relative roles of participants): Understanding
how to take into account who is speaking to whom, in what circumstances,
about what, and for what reason.
In the
communicative model of language teaching, instructors help their students
develop this body of knowledge by providing authentic practice that prepares
students for real-life communication situations. They help their students
develop the ability to produce grammatically correct, logically connected
sentences that are appropriate to specific contexts, and to do so using
acceptable (that is, comprehensible) pronunciation.
credit : http://www.nclrc.org/essentials/speaking/spindex.htm
credit : http://www.nclrc.org/essentials/speaking/spindex.htm
การสอนทักษะการพูด
การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในเบื้องต้น มุ่งเน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา ( Accuracy) ในเรื่องของเสียง คำศัพท์ ( Vocabulary) ไวยากรณ์ ( Grammar) กระสวนประโยค (Patterns) ดัง นั้น กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนระดับต้นได้ฝึกทักษะการพูด จึงเน้นกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติตามแบบ หรือ
ตามโครงสร้างประโยคที่กำหนดให้พูดเป็นส่วนใหญ่ สำหรับผู้เรียนระดับสูง
กิจกรรมฝึกทักษะการพูด จึงจะเน้นที่ความคล่องแคล่วของการใช้ภาษา ( Fluency) และ
จะเป็นการพูดแบบอิสระมากขึ้น เพราะจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการพูด คือ
การสื่อสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วยการพูดอย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว ครูผู้สอนจึงควรมีความรู้และความสามารถอย่างไร จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการพูดให้แก่ผู้เรียนได้อย่างสอด
คล้องกับระดับและศักยภาพของผู้เรียน
1. เทคนิควิธีปฎิบัติ
กิจกรรมการฝึกทักษะการพูด มี 3 รูปแบบ คือ
1.1 การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ เช่น
พูดเปลี่ยนคำศัพท์ในประโยค (Multiple Substitution Drill)
พูดตั้งคำถามจากสถานการณ์ในประโยคบอกเล่า (Transformation Drill)
พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให้ (Yes/No Question-Answer Drill)
พูดสร้างประโยคต่อเติมจากประโยคที่กำหนดให้ (Sentence Building)
พูดคำศัพท์ สำนวนในประโยคที่ถูกลบไปทีละส่วน (Rub out and Remember)
พูดเรียงประโยคจากบทสนทนา (Ordering dialogues)
พูดทายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในบทสนทนา (Predicting dialogue)
พูดต่อเติมส่วนที่หายไปจากประโยค ( Completing Sentences )
พูดให้เพื่อนเขียนตามคำบอก (Split Dictation)ฯลฯ
1.2 การฝึกพูดอย่างมีความหมาย ( Meaningful Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่เน้นความหมายมากขึ้น มีหลายลักษณะ เช่น
พูดสร้างประโยคเปรียบเทียบโดยใช้รูปภาพ
พูดสร้างประโยคจากภาพที่กำหนดให้
พูดเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ในห้องเรียน
ฯลฯ
1.3 การฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร (Communicative Drills) เป็นการฝึกเพื่อมุ่งเน้นการสื่อสาร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างคำตอบตามจินตนาการ เช่น
พูดประโยคตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ( Situation)
พูดตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ ( Imaginary Situation)
พูดบรรยายภาพหรือสถานการณ์แล้วให้เพื่อนวาดภาพตามที่พูด ( Describe and Draw)
1. เทคนิควิธีปฎิบัติ
กิจกรรมการฝึกทักษะการพูด มี 3 รูปแบบ คือ
1.1 การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ เช่น
พูดเปลี่ยนคำศัพท์ในประโยค (Multiple Substitution Drill)
พูดตั้งคำถามจากสถานการณ์ในประโยคบอกเล่า (Transformation Drill)
พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให้ (Yes/No Question-Answer Drill)
พูดสร้างประโยคต่อเติมจากประโยคที่กำหนดให้ (Sentence Building)
พูดคำศัพท์ สำนวนในประโยคที่ถูกลบไปทีละส่วน (Rub out and Remember)
พูดเรียงประโยคจากบทสนทนา (Ordering dialogues)
พูดทายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในบทสนทนา (Predicting dialogue)
พูดต่อเติมส่วนที่หายไปจากประโยค ( Completing Sentences )
พูดให้เพื่อนเขียนตามคำบอก (Split Dictation)ฯลฯ
1.2 การฝึกพูดอย่างมีความหมาย ( Meaningful Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่เน้นความหมายมากขึ้น มีหลายลักษณะ เช่น
พูดสร้างประโยคเปรียบเทียบโดยใช้รูปภาพ
พูดสร้างประโยคจากภาพที่กำหนดให้
พูดเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ในห้องเรียน
ฯลฯ
1.3 การฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร (Communicative Drills) เป็นการฝึกเพื่อมุ่งเน้นการสื่อสาร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างคำตอบตามจินตนาการ เช่น
พูดประโยคตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ( Situation)
พูดตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ ( Imaginary Situation)
พูดบรรยายภาพหรือสถานการณ์แล้วให้เพื่อนวาดภาพตามที่พูด ( Describe and Draw)
Teaching Speaking Lesson Plan
doc. http://v3.gushare.com/file.php?file=878f924919afeda5054d1f1ef222e34c
ppt. http://v3.gushare.com/file.php?file=77155a581952011bbe9d34aa8645452c
doc. http://v3.gushare.com/file.php?file=878f924919afeda5054d1f1ef222e34c
ppt. http://v3.gushare.com/file.php?file=77155a581952011bbe9d34aa8645452c
Example practice teaching speaking skill
Pre-Speaking skill
While- Speaking Skill
Post-Speaking Skill
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น